วันพุธที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ตลาดจีนฮ่อที่เชียงใหม่

บ๊วยไม่ไช่ว่าของญี่ปุ่นที่เดียวนะ
สามารถหาได้ที่เชียงใหม่ด้วย
แต่ไม่ไช่ว่าขายทั่วไปนะ
เพราะคนเมืองบ่กินเจ้า
ต้องไปกาดที่คนไทยใหญ่ หรือ คนจีนฮ่อไปเจ้า
คือกาดนัด หรือ ตลาดจีนฮ่อ หรือ ตลาดวันศุกร์
บ๊วยจะวางขายช่วงหน้าร้อน -มิ.ค./ม.ย.  

รู้ไหมว่าที่ภาคเหนื้อมีคนปลูกต้นบ๊วยกันเอยะ
ต้นบ๊วยชอบอากาศเย็น
ก็ถ้าอยากดูต้นบ๊วยต้องไปขึ้นดอย
นี่คือต้นบ๊วยที่เชียงราย

ดอกบานช่วงหน้าหนาว


นี่คือวิธีดองบ๊วยแบบจีนฮ่อ



หมู่บ้านจีนฮ่อจะมีแฮมยูนนานด้วย
มีชื่อเสียงนะ
และตลาดจีนฮ่อที่เชียงใหม่ก็มีขาย
ไม่ต้องไปไกลก็กินได้นะ ^^
 
มีบุกด้วย
คนญี่ปุ่นก็กินบุกนะ
แต่ของเขามีพริก

มีเต้าหู้ และ ถั่วเน่าด้วย
การกินเหมือนคนญี่ปุ่นนะ

มีข้าวปุกด้วย
 ทาน้ำอ้อย
หวาน หอม อร่อยมาก
เราก็กินข้าวปุก
เรียกว่า"โมชิ"
ไม่ใช่ขนมโมชิไทยนะ
เรากินข้าวปุกสีขาว
แต่ชาวดอยชอบคลุกกับงา
เรากินข้าวปุกช่วงปีใหม่
แล้วชาวดอยก็ทำกินช่วงปีใหม่
วัฒนธรรมอาหารของจีนฮ่อกับชาวดอยบางอย่าง
 คล้ายกับคนญี่ปุ่น
น่าสนใจนะ
พูดมากไปแล้ว
ถ้าอยากดู หรือ ชิมอะไรใหม่ๆ
ไปตลาดจีนฮ่อนะเจ้า
อยู่แถวไนท์บาซาร์ ใก้ลมัสยิด
เปิดตอนชาววันศุกร์นะเจ้า

อ่านต่อเรื่องบ๊วยญี่ปู่น

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555

วิธีทำอุเมโบซิ 2

หน้าบ๊วยเป็นหน้า"ซิโซะ"แดง
ภาษาอังกฤษเรียกว่า "perilla"
เป็นสมุนไพร
 ดูคล้ายกับใบกระเพรา
แต่ใหญ่กว่าเยอะ
 เท่ากับฝ่ามือ
 ใบ"ซิโซะแดง"หอม และ สีสวย
เราก็เลยดองด้วยบ๊วย
ล้างใบให้สะอาดก่อน
ค่อยใช้เกลือคลุกเคล้ากับใบซิโซะ
ปีบ และเอาน้ำกรดถิ้ง
 เรียงบ๊วยกับใบซิโซะ
ข้างบนคลุมด้วยใบซิโซะ ปิดฝา
 ทิ้งไว้อย่างนั้นจนหมดหน้าฝน (ที่มืด และ เย็น)
สีบ๊วยจะเปลี่ยนเป็นอย่างไรนะ

อ่านต่อ บ๊วยในเชียงใหม่

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2555

วิธีทำอุเมโบซิ 1

(1) ล้างก่อน
ใช้บ๊วยได้ ๒ แบบ
บ๊วยสีเขียว และ บ๊วยสีเหลือง
ตางกันแค่ดิบ หรือ สุก เหมือนมะม่วง
เวลาทำเหล้าต้องใช้บ๊วยสีเขียว(ดิบ)
แต่ เวลาทำบ๊วยดอง "อุเมโบซิ" 
 ต้องใช้บ๊วยสีเหลือง(สุก)เหมือนรูปข้างบน
ถ้าบ๊วยยังไม่สุกก็ทิ้งไว้จนสีเปลี่ยนเป็นสีเหลืองค่ะ
กลิ่นหอมมาก
(2) เช็ดบ๊วยให็แห้ง
และ เอาสิ่งที่อยู่ตรงกลางออก
ส่ิงดำๆเรียกว่าอะไรนา 
(3) เรียงบ๊วยกับเกลือสลับกัน
บ๊วย 1 ก.ล. ต่อเกลือ 120 ขีด
ฉันดอง 2 ก.ล. 
  อย่างนี้นะ
(4) และวางอะไรหนักๆบนบ๊วย
หินก็ได้ กระป๋องก็ได้ ขอให้สะอาด
ทิ้งไว้อย่างนั้นสัก 2-3วัน
น้ำจะออกจากบ๊วย 
เปิดฝากลิ่งหอม หวาน ทำให้เราสดชื่น
ทิ้งไว้อย่างนั้นอีก ๑-๒ อาทิตย์

อ่านต่อ

วันเสาร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2555

เข้าหน้าฝนบ๊วยแล้ว


ศาลเจ้ายูซิมะ และ ต้นบ๊วย
เมืองไทยเข้าหน้าฝนแล้ว
ญี่ปุ่นก็เหมือนกัน
ระยะเวลาหน้าฝนที่นี่ประมาณ 1 เดือน
แล้วจะเข้าหน้าร้อน
หน้าฝนญี่ปุ่นเรียกว่า "ทรุยุ"(tsu-yu :梅雨)
มีความหมายของทรุยุมีหลายความหมาย
แต่ฉันชอบความหมายนี่ คือ "ฝนบ๊วย"
ช่วงหน้ฝนบ๊วยออกผล


นี่คือผลบ๊วย
สวยไหมคะ
แต่บ๊วยกินดิบไม่ได้นะ
เปลี้ยวมาก เป็นพิษด้วย
เราก็เลยทำเป็นเหล้า น้ำส้ม แยม ฯลฯ
ฉันทำ "อุเมโบซิ" - บ๊วยดอง
คราวหน้าฉันจะเขียนวิธีทำอุเมโบซินะค่ะ

อ่านต่อวิธีทำอุเมโบซิ 


วันอังคารที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2555

จะกลับไปอยู่ญี่ปุ่น

ฉันเคยอยู่เชียงใหม่ 13 ปี
แต่ตัดสินใจว่าจะกลับไปอยู่ญี่ปุ่น
กลับไปญี่ปุ่นเป็นอย่างไรบ้างนะ
อยู่เมืองไทยนานจนเป็นคนไทยไปแล้ว
ฉันพูดภาษาญี่ปุ่นเก่งกว่าภาษาไทย
แต่รู้เชียงใหม่มากกว่าญี่ปุ่น
ฉันพาเพื่อนไปโนนไปนี้ที่เชียงใหม่สบายมาก
แต่ญี่ปุ่น ...ไม่รู้
ลงใช้ชีวิตที่ญี่ปุ่นดูนะ

อยู่เชียงใหม่ฉันเขียนบล๊อกเกียวกับชีวิตในเชียงใหม่
เพราะฉันชอบเชียงใหม่มาก
ก็อยากให้คนญี่ปุ่นรู้จักเชียงใหม่มากขึ้น
ยากให้คนญี่ปุ่นชอบเมืองไทยด้วย
แต่คราวนี้ฉันจะลองเขียนเรื่องญี่ปุ่นดูนะ